ประเพณีบุญข้าวจี่

ประเพณีบุญข้าวจี่
ประวัติความเป็นมาประเพณีบุญข้าวจี่
บุญข้าวจี่นิยมทากันในราวกลางเดือนหรือปลายเดือนสาม คือ ภายหลังการทาบุญวันมาฆบูชา ข้าวจี่ คือ ข้าวเหนียวนึ่งให้สุกแล้วนามาปั้นเป็นก้อนทาเกลือเคล้าให้ทั่วและนวดให้เหนียวแล้วเสียบไม้ย่างไฟ มูลเหตุที่ทาบุญข้าวจี่ในเดือนสาม เนื่องจากเป็นเวลาที่ชาวนาได้มีการทานาเสร็จสิ้น ชาวนาได้ข้าวขึ้นยุ้งใหม่จึงอยากร่วมกันทาบุญข้าวจี่ถวายแก่พระสงฆ์
สาหรับมูลเหตุดั้งเดิมที่มีการทาบุญข้าวจี่ มีเรื่องเล่ากันตามความเชื่อว่า ในสมัยพุทธกาล นางปุณณะทาสี ได้ทาขนมแป้งจี่ถวายแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอานนท์เถระ ครั้นถวายแล้วนางคิดว่าพระองค์คงไม่เสวยและอาจเอาทิ้งให้สุนัขหรือกากิน เพราะ อาหารที่นางถวายไม่ประณีตน่ารับประทาน เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบภาวะจิตของนางปุณณะทาสี จึงรับสั่งให้พระอานน์ปูลาดอาสนะแล้วทรงประทับนั่งฉันท์ ณ ที่นางถวายนั้น เป็นผลให้นางเกิดปีติยินดีเป็นอย่างยิ่งและเมื่อนางได้ฟังพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงก็บรรลุโสดาบันปัตติผลด้วยอานิงสงฆ์ที่ถวายขนมแป้งจี่ ชาวอีสานจึงเชื่อในอานิสงส์ของการทานดังกล่าวจึงพากันทาข้าวจี่ถวายทานแด่พระสงฆ์สืบต่อมา
ตาบลนาอ้อเริ่มฟื้นฟูประเพณีบุญข้าวจี่อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่บ้านนาอ้อ ได้รับยกย่องจากสภาวัฒนธรรมแห่งชาติให้เป็นหมู่บ้านวัฒนธรรมต้นแบบของจังหวัดเลยและมีการจัดงานประเพณีแบบเป็นระเบียบแบบแผนและจัดงานอย่างต่อเนื่องมาทุกปี (สาร สารทัศนานันท์ 2527 : 43 – 44)
การปฏิบัติในงานประเพณีบุญข้าวจี่
เมื่อทางวัดและทางบ้านกาหนดวันทาบุญเรียบร้อยแล้ว ชาวบ้านจะไปเตรียมหาไม้ไผ่สาหรับเสียบข้าวจี่ เมื่อถึงวันทาบุญก็จะเอาไม้เสียบและฟืนที่เตรียมไว้สาหรับทาบุญข้าวจี่ไปรวมกันที่วัด เมื่อก่อไฟจนเป็นถ่านดีแล้วชาวบ้านแต่ละคนเอาข้าวเหนียวทาเป็นปั้นโรยเกลือและเคล้านวดให้เข้ากันจนข้าวมีลักษณะเหนียว กะจานวนให้ครบพระภิกษุสามเณรในวัดเสียบไม้ปิ้งไฟหรือย่างบนกองไฟจวนสุกทาไข่ให้ทั่วแล้วปิ้งต่อไปจนไข่เหลือง บางแห่งเมื่อปิ้งเสร็จเอาน้าอ้อยปึกยัดไส้ด้วย (น้าอ้อยอาจเอาใส่ยัดไส้ก่อนปิ้งไฟก็ได้) หรือจะไม่ใส่น้าอ้อยก็ได้ จึงจัดอาหารคาวหวานและข้าวจี่มารวมกันที่ศาลาวัด นิมนต์พระภิกษุและสามเณรในวัดทั้งหมดมารับถวายทาน ข้าวจี่หากไม่มารวมกันทาที่วัด ชาวบ้านอาจต่างคนต่างทามาจากที่บ้านของตน โดยเสร็จแล้วต่างนาข้าวจี่มาที่วัดก็ได้ พิธีถวายมีการกล่าวคาบูชาดอกไม้ กราบไหว้พระรัตนตรัย รับศีล พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ตักบาตรถวายข้าวจี่แล้วยกไปถวายพระภิกษุสามเณรพร้อมอาหารคาวหวาน ก่อนยกไปถวายมีการกล่าวคาถวายข้าวจี่อีกด้วย
กิจกรรมงานประเพณีบุญข้าวจี่ ซิมข้าวแดกงา เหว้าจาภาษาเลย ครั้งที่ 11 ปี 2553
ตาบลนาอ้อ ได้มีการฟื้นฟูประเพณีบุญข้าวจี่อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่บ้านนาอ้อ ได้รับยกย่องจากสภาวัฒนธรรมแห่งชาติให้เป็นหมู่บ้านวัฒนธรรมต้นแบบของจังหวัดเลยและมีการจัดงานประเพณีแบบเป็นระเบียบแบบแผนและจัดงานอย่างต่อเนื่องมาทุกปี (สาร สารทัศนานันท์ 2527 : 43 – 44)
งานประเพณีบุญข้าวจี่ ซิมข้าวแดกงา เหว้าจาภาษาเลยครั้งที่ 11 เป็นประเพณีโบราณตั้งแต่ดั้งเดิม ที่แสดงถึงวิถีการดารงชีวิต ความเชื่อและภูมิปัญญาของชาวตาบลนาอ้อ เป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยถ่ายทอดวัฒนธรรมให้กับชนรุ่นหลังและผู้ที่สนใจได้รับรู้ ตลอดทั้งเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น โดยงานประเพณีดังกล่าวจัดให้มีขึ้นใน วันที่ 23 – 24 มกราคม พ.ศ.2553 ณ บริเวณสนามกีฬาเทศบาลตาบลนาอ้อ อาเภอเมือง จังหวัดเลย
ข้าวจี่ คือ ข้าวเหนียวนึ่งให้สุกแล้วนามาปั้นเป็นก้อนทาเกลือเคล้าให้ทั่วและนวดให้เหนียวแล้วเสียบไม้ย่างไฟ มูลเหตุที่ทาบุญข้าวจี่ในช่วงเดือนสาม เนื่องจากเป็นเวลาที่ชาวนาได้มีการทานาเสร็จสิ้น ชาวนาได้ข้าวขึ้นยุ้งใหม่จึงอยากร่วมกันทาบุญข้าวจี่ถวายแก่พระสงฆ์ ในสมัยพุทธกาล นางปุณณะทาสี ได้ทาขนมแป้งจี่ถวายแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอานนท์เถระ ครั้นถวายแล้วนางคิดว่าพระองค์คงไม่เสวยและอาจเอาทิ้งให้สุนัขหรือกากิน เพราะ อาหารที่นางถวายไม่ประณีตน่ารับประทาน เมื่อพระพุทธเจ้าทรงทราบภาวะจิตของนางปุณณะทาสี จึงรับสั่งให้พระอานน์ปูลาดอาสนะแล้วทรงประทับนั่งฉันท์ ณ ที่นางถวายนั้น เป็นผลให้นางเกิดปีติยินดีเป็นอย่างยิ่งและเมื่อนางได้ฟังพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงก็บรรลุโสดาบันปัตติผลด้วยอานิงสงฆ์ที่ถวายขนมแป้งจี่ ชาวอีสานจึงเชื่อในอานิสงส์ของการทานดังกล่าวจึงพากันทาข้าวจี่ถวายทานแด่พระสงฆ์สืบต่อมา
กิจกรรมที่น่าสนใจในงาน ร่วมกันชมขบวนแห่ข้าวจี่จากชุมชนนาอ้อทั้ง 9 คุ้ม การจัดซุ้มแสดงวิถีชีวิตของชุมชนตาบลนาอ้อ พร้อมบริการข้าวจี่ข้าวแดกงา ฟรีตลอดงาน การประกวดเทพีข้าวจี่ การแข่งขันร้องเพลงไทยลูกทุ่งชิงช้าสวรรค์ประกวดเล่านิทาน ประกวดร้องสรภัญญะ การแข่งขันการละเล่นพื้นบ้าน การแข่งขันชกมวยไทยและการแข่งขันมวยโบราณ หัวล้านชนกันและหมอลาเรื่องต่อกลอน คณะระเบียบวาทะศิลป์ พร้อมมหรสพและฉายภาพยนตร์จอยักษ์(หนังกลางแปลง ) ตลอดคืน นอกจากนี้ในงานประเพณีบุญข้าวจี่ในปีนี้ ได้มีการจัดมหกรรมเทศกาลอาหาร สะอาด รสชาติอร่อย ให้ผู้ร่วมงานได้เลือกซื้อรับประทานอาหารมากมาย ไม่ว่าจะเป็นอาหารพื้นบ้านของชาวตาบลนาอ้อ ข้าวจี่ข้าวแดกงา อาหารไทย อาหารอิสาน ขนมหวาน เครื่องดื่ม น้าหวาน น้าผลไม้ ที่ขึ้นชื่อของชาวเมืองเลย